Digital literacy ทักษะพื้นฐานในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมอนาคต

การพัฒนาทักษะแรงงานให้พร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะทักษะด้านดิจิทัลที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งในยุคที่ได้ชื่อว่าเป็นยุคดิจิทัล (Digital Age) ดังนั้นประเทศไทยจำเป็นต้องเร่งพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะและความสามารถสอดรับกับความต้องการของภาคธุรกิจในอนาคต

ผลิตภาพแรงงานกับผลตอบแทนแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต

ผลิตภาพแรงงาน201118การเพิ่มผลิตภาพแรงงานเป็นกุญแจส่าคัญในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ ผ่านทางการเปลี่ยนแปลงรายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากร (GDP per capita) โดยการเพิ่มผลิตภาพแรงงานจะสะท้อนถึงการใช้ปัจจัยทุนอย่างเต็มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ลดปริมาณแรงงานที่มีประสิทธิภาพต่่าลง เพิ่มทักษะความสามารถของแรงงานที่มีอยู่ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการอื่น ๆ

ผลิตภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4.0

ด้วยแรงขับเคลื่อนจากระดับเทคโนโลยีในโลกที่สูงขึ้น และปัจจัยทางสังคมต่าง ๆ ทำให้ประเทศที่มีค่าจ้างแรงงานสูงต้องหันไปใช้นโยบายอุตสาหกรรม 4.0 ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ซึ่งเทคโนโลยี I4.0 จะทำให้อุตสาหกรรมเติบโตและมีผลิตภาพสูงขึ้นอย่างมาก เนื่องจากเครื่องจักรอุปกรณ์และสินค้าสามารถติดต่อกันได้ผ่านเซ็นเซอร์ รวมถึงเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่เข้ามาช่วยให้เกิดการผลิตสินค้าใหม่ได้อย่างรวดเร็ว ต้นทุนต่ำ ประสิทธิภาพสูง 

ยกระดับผลิตภาพด้วย TPM: บริษัท เสริมสุข จำกัด (มหาชน)

กรณีตัวอย่าง บริษัท เสริมสุข จำกัด (มหาชน) ที่ดำเนินการกิจกรรม TPM เพื่อยกระดับประสิทธิภาพการผลิต โดยให้พนักงานทุกระดับมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและลดความสูญเสียในกระบวนการผลิต (Production Loss) ทำให้เครื่องจักรทำงานได้เต็มประสิทธิภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ 

การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาองค์กร : KM for Performance Improvement

กรณีตัวอย่าง บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) ในการดำเนินการจัดการความรู้ (KM) เพื่อพัฒนาความาสามารถบุคลากร ทำให้ผลงานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ซึ่งจำนำไปสู่การเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน

SMEs 4.0 แบบเยอรมนี

ปัจจุบัน SMEs ส่วนมากในประเทศไทย ไม่ได้ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการผลิตระดับ 3.0 อย่างเต็มรูปแบบ ยังคงมีระบบการผลิตอยู่ในระดับ 2.0 หรือ 2.5 จึงนำไปสู่คำถามสำคัญว่า ควรข้ามขั้นไปสู่ระดับ 4.0 หรือควรพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไป

Digital literacy ทักษะพื้นฐานในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมอนาคต

ทักษะด้านดิจิทัลมีความสำคัญอย่างยิ่งในปัจจุบัน อย่างไรก็ดี จากการจัดอันดับความสามารถในการสร้างบุคลากรเพื่อตอบสนองความต้องการของภาคธุรกิจ World Talent Report โดยสถาบัน IMD พบว่าในปี 2017 ประเทศไทยตกมาอยู่ในอันดับที่ 42 จากเดิมในปี 2016 อยู่ในอันดับที่ 37 ดังนั้นประเทศไทยจำเป็นต้องเร่งพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะและความสามารถสอดรับกับความต้องการของภาคธุรกิจในอนาคต

ผลิตภาพแรงงานกับผลตอบแทนแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต

การเพิ่มผลิตภาพแรงงานเป็นกุญแจสำคัญในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ และส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตของประชากรผ่านรายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากรที่เพิ่มขึ้น แต่กลับพบว่าช่องว่างระหว่างการเพิ่มผลิตภาพแรงงานกับผลตอบแทนแรงงานมากขึ้นเรื่อยๆ จึงต้องทำการศึกษาสัดส่วนผลตอบแทนของแต่ละปัจจัยการผลิตแต่ละชนิด ซึ่งมีความแตกต่างกันไปในแต่ละอุตสาหกรรม

ผลิตภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4.0

เทคโนโลยี I4.0 จะทำให้อุตสาหกรรมเติบโตและมีผลิตภาพสูงขึ้นอย่างมาก จากต้นทุนการผลิตที่ต่ำลง และประสิทธิภาพที่สูงขึ้น และยังส่งผลต่อภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ รวมถึงการให้บริการเพื่ออำนวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ ดังนั้นการเปลี่ยนผ่านสู่ I4.0 จะต้องมีการกำหนดเป้าหมาย และวางแผนเตรียมพร้อมที่เหมาะสม โดยเฉพาะเตรียมบุคลากรที่มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีได้ในที่สุด

การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาองค์กร : กรณีศึกษาแนวทางการปฏิบัติที่ดี บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน)

เป็นกรณีตัวอย่างในการใช้หลักการจัดการความรู้ (Knowledge Management; KM) เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถเพิ่มขึ้น และสามารถพัฒนาผลงานให้มีประสิทธิภาพ มุ่งสู่เป้าหมายในการพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) เพื่อการเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน

1 3 4 5 6 7 8