การวัดผลิตภาพของ Collaborative Robot

เมื่อมาถึงจุดที่ประเทศไทยจะต้องปรับเปลี่ยนสู่อุตสาหกรรม 4.0 คงไม่อาจปฏิเสธเพื่อนร่วมงานใหม่อย่าง Collaborative Robot (Cobot) และในเมื่อเราถูกวัดผลการปฏิบัติงานด้วย KPIs เพื่อนใหม่ของเราก็ต้องถูกวัดด้วยเช่นกัน แล้ว KPIs แบบใดที่จะเหมาะสมกับการวัดสมรรถนะของ Cobot

สร้างอนาคตสไตล์เกาหลีใต้ ด้วย Manufacturing Innovation 3.0

ตั้งแต่ปี 2014 กระทรวงการค้า อุตสาหกรรม และพลังงาน (Ministry of Trade, Industry and Energy) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบด้านเศรษฐกิจของประเทศ ได้เริ่มประกาศนโยบายระดับชาติภายใต้ชื่อ Manufacturing Innovation 3.0 โดยผสมผสานแนวคิดเรื่อง Industry 4.0 ของเยอรมนี เข้ามาเพื่อเติมเต็มนโยบายเรื่องเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และคงความได้เปรียบในการแข่งขันยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4

ไต้หวันกับผลิตภาพ 4.0 (Productivity 4.0) ความฝันใหญ่บนเกาะเล็ก

ไต้หวันได้ให้มุมมองการพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 ว่าจะเป็นกลยุทธ์สำคัญในการยกระดับผลิตภาพในบริบทใหม่ เนื่องจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม 4.0 จะมีความชาญฉลาดและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอย่างมาก ซึ่งช่วยให้สามารถผลิตสินค้าและบริการที่มีความหลากหลายแตกต่างตามความต้องการของลูกค้าเฉพาะรายโดยใช้แรงงานคนน้อยลง สอดคล้องกับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศ ดังนั้น อุตสาหกรรม 4.0 ในไต้หวันจึงใช้ชื่อเรียกว่าผลิตภาพ 4.0 (Productivity 4.0)

เยอรมนี ผู้เปลี่ยนโลกสู่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4

ทุกวันนี้การนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาพัฒนาธุรกิจกลายเป็นความท้าทายระดับ Do It or Die ที่ทั่วโลกต้องก้าวไปให้ถึง ทุกประเทศชั้นนำ เช่น สหรัฐ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ รวมถึงประเทศไทยภายใต้นโยบาย  Thailand 4.0 ต่างพยายามเร่งแข่งขันกันใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างความได้เปรียบ จนกระทั่งรัฐบาล นักธุรกิจ และนักวิชาการทั่วโลกต่างยอมรับว่า โลกกำลังเข้าสู่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ซึ่งผู้จุดประกายให้ทั้งโลกตื่นตัวต่อเรื่องนี้ นั่นคือ เยอรมนี

ประโยชน์ของอุตสาหกรรม 4.0

การนำอุตสาหกรรม 4.0 มาใช้จะสามารถทำให้ต้นทุนขององค์กรลดลง และทำให้ประสิทธิภาพขององค์กรเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากการมุ่งเน้นในสมรรถนะหลักของตนเอง การลดความซ้ำซ้อนของกระบวนการ สินค้ามีคุณภาพสูงขึ้น และความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนสายการผลิต

แนวคิดอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรม 4.0 ไม่ได้หมายถึงนวัตกรรมในด้านเทคโนโลยี แต่เป็นการเปลี่ยนมุมมองพื้นฐานใน 5 เรื่องสำคัญ ได้แก่ 1) Vertical and Horizontal Integration 2) Decentralized Control 3) Consistent Digital Engineering 4) Decentralized Intelligence 5) Cyber-Physical Production Systems

วิวัฒนาการของอุตสาหกรรม

ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โลกมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการและระบบในการผลิตสินค้าหรือที่เรียกว่า การปฎิวัติอุตสาหกรรมที่สำคัญ 4 ครั้ง ตั้งแต่การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 1 จนถึงการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4

1 2