เยอรมนี ผู้เปลี่ยนโลกสู่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4

ทุกวันนี้การนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาพัฒนาธุรกิจกลายเป็นความท้าทายระดับ Do It or Die ที่ทั่วโลกต้องก้าวไปให้ถึง ทุกประเทศชั้นนำ เช่น สหรัฐ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ รวมถึงประเทศไทยภายใต้นโยบาย  Thailand 4.0 ต่างพยายามเร่งแข่งขันกันใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างความได้เปรียบ จนกระทั่งรัฐบาล นักธุรกิจ และนักวิชาการทั่วโลกต่างยอมรับว่า โลกกำลังเข้าสู่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ซึ่งผู้จุดประกายให้ทั้งโลกตื่นตัวต่อเรื่องนี้ นั่นคือ เยอรมนี

ค้นหาความสามารถหลักขององค์กร เพื่อสร้างความได้เปรียบอย่างยั่งยืน

กรณีตัวอย่าง บริษัท ไทยประเสริฐลาเบล จำกัด ในการค้นหาความสามารถหลักขององค์กร (Corporate Core Competency) เพื่อนำไปใช้ในการต่อยอดทางธุรกิจ และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน โดยคำนึงถึงแนวโน้มทางการตลาดในอนาคต รวมถึงการจัดทำแผนพัฒนาความสามารถของบุคลากรอย่างมีเป้าหมายชัดเจน

ประโยชน์ของอุตสาหกรรม 4.0

การนำอุตสาหกรรม 4.0 มาใช้จะสามารถทำให้ต้นทุนขององค์กรลดลง และทำให้ประสิทธิภาพขององค์กรเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากการมุ่งเน้นในสมรรถนะหลักของตนเอง การลดความซ้ำซ้อนของกระบวนการ สินค้ามีคุณภาพสูงขึ้น และความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนสายการผลิต

Leadership in a VUCA World การนำองค์กรท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง

ปัจจุบันสภาพแวดล้อมทางธุรกิจเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว หรือที่เรียกกันว่า VUCA ซึ่งประกอบไปด้วย ความผันผวน(Volatility) ความไม่แน่นอน (Uncertainty) ความสลับซับซ้อน (Complexity) และความคลุมเครือ (Ambiguity)

six sigma 6σ มูลค่าเพิ่มที่ทุกองค์กรสร้างได้

six sigma ถือเป็นกลยุทธ์สำคัญของการบริหารคุณภาพที่มุ่งเน้นการลดความผันแปรในกระบวนการให้เหลือน้อยที่สุด ไม่ว่าจะเป็นความผิดพลาด ความสูญเปล่า หรือดารแก้ไขชิ้นงาน

Hwa Chong Institution ความเป็นเลิศด้านการศึกษาแห่งสิงคโปร์

รัฐบาลสิงคโปร์ได้ริเริ่มการมอบรางวัล Singapore Quality Award หรือ SQA ตั้งแต่ปี 2537 ให้แก่องค์กรที่มีความเป็นเลิศในด้านธุรกิจ โดยมีจุดประสงค์เพื่อกระตุ้นให้องค์กรต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนมุ่งสู่ความเป็นเลิศในด้านธุรกิจในระดับสากล

แนวคิดอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรม 4.0 ไม่ได้หมายถึงนวัตกรรมในด้านเทคโนโลยี แต่เป็นการเปลี่ยนมุมมองพื้นฐานใน 5 เรื่องสำคัญ ได้แก่ 1) Vertical and Horizontal Integration 2) Decentralized Control 3) Consistent Digital Engineering 4) Decentralized Intelligence 5) Cyber-Physical Production Systems

วิวัฒนาการของอุตสาหกรรม

ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โลกมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการและระบบในการผลิตสินค้าหรือที่เรียกว่า การปฎิวัติอุตสาหกรรมที่สำคัญ 4 ครั้ง ตั้งแต่การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 1 จนถึงการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4

“Big Data” เรื่องใหญ่เขย่าโลกธุรกิจ

องค์กรทั่วโลกต่างให้ความสำคัญกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี “Big Data” ในการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ UBER Amazon และ Lazada ซึ่งไม่เพียงให้บริการตามธุรกิจหลักเท่านั้นแต่ยังทำ Big Data Analytic โดยการเก็บข้อมูลพฤติกรรมผู้บริโภคมาตรวจสอบ

1 3 4 5 6