ภาคการผลิตพิชิตปัญหาด้านกระบวนการด้วย Six Sigma

กรณีตัวอย่างองค์กรในภาคการผลิตที่มีการนำ Six Sigma เข้ามาใช้ในการพัฒนากระบวนการทางธุรกิจ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่กระบวนการทำงาน ตลอดจนลดต้นทุนการผลิต ช่วยให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันทางธุรกิจขององค์กรให้สูงขึ้น

การวัดผลิตภาพของ Collaborative Robot

เมื่อมาถึงจุดที่ประเทศไทยจะต้องปรับเปลี่ยนสู่อุตสาหกรรม 4.0 คงไม่อาจปฏิเสธเพื่อนร่วมงานใหม่อย่าง Collaborative Robot (Cobot) และในเมื่อเราถูกวัดผลการปฏิบัติงานด้วย KPIs เพื่อนใหม่ของเราก็ต้องถูกวัดด้วยเช่นกัน แล้ว KPIs แบบใดที่จะเหมาะสมกับการวัดสมรรถนะของ Cobot

Digital literacy ทักษะพื้นฐานในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมอนาคต

การพัฒนาทักษะแรงงานให้พร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะทักษะด้านดิจิทัลที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งในยุคที่ได้ชื่อว่าเป็นยุคดิจิทัล (Digital Age) ดังนั้นประเทศไทยจำเป็นต้องเร่งพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะและความสามารถสอดรับกับความต้องการของภาคธุรกิจในอนาคต

ผลิตภาพแรงงานกับผลตอบแทนแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต

ผลิตภาพแรงงาน201118การเพิ่มผลิตภาพแรงงานเป็นกุญแจส่าคัญในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ ผ่านทางการเปลี่ยนแปลงรายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากร (GDP per capita) โดยการเพิ่มผลิตภาพแรงงานจะสะท้อนถึงการใช้ปัจจัยทุนอย่างเต็มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ลดปริมาณแรงงานที่มีประสิทธิภาพต่่าลง เพิ่มทักษะความสามารถของแรงงานที่มีอยู่ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการอื่น ๆ

ผลิตภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4.0

ด้วยแรงขับเคลื่อนจากระดับเทคโนโลยีในโลกที่สูงขึ้น และปัจจัยทางสังคมต่าง ๆ ทำให้ประเทศที่มีค่าจ้างแรงงานสูงต้องหันไปใช้นโยบายอุตสาหกรรม 4.0 ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ซึ่งเทคโนโลยี I4.0 จะทำให้อุตสาหกรรมเติบโตและมีผลิตภาพสูงขึ้นอย่างมาก เนื่องจากเครื่องจักรอุปกรณ์และสินค้าสามารถติดต่อกันได้ผ่านเซ็นเซอร์ รวมถึงเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่เข้ามาช่วยให้เกิดการผลิตสินค้าใหม่ได้อย่างรวดเร็ว ต้นทุนต่ำ ประสิทธิภาพสูง 

ยกระดับผลิตภาพด้วย TPM: บริษัท เสริมสุข จำกัด (มหาชน)

กรณีตัวอย่าง บริษัท เสริมสุข จำกัด (มหาชน) ที่ดำเนินการกิจกรรม TPM เพื่อยกระดับประสิทธิภาพการผลิต โดยให้พนักงานทุกระดับมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและลดความสูญเสียในกระบวนการผลิต (Production Loss) ทำให้เครื่องจักรทำงานได้เต็มประสิทธิภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ 

การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาองค์กร : KM for Performance Improvement

กรณีตัวอย่าง บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) ในการดำเนินการจัดการความรู้ (KM) เพื่อพัฒนาความาสามารถบุคลากร ทำให้ผลงานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ซึ่งจำนำไปสู่การเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน

SMEs 4.0 แบบเยอรมนี

ปัจจุบัน SMEs ส่วนมากในประเทศไทย ไม่ได้ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการผลิตระดับ 3.0 อย่างเต็มรูปแบบ ยังคงมีระบบการผลิตอยู่ในระดับ 2.0 หรือ 2.5 จึงนำไปสู่คำถามสำคัญว่า ควรข้ามขั้นไปสู่ระดับ 4.0 หรือควรพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไป

สร้างอนาคตสไตล์เกาหลีใต้ ด้วย Manufacturing Innovation 3.0

ตั้งแต่ปี 2014 กระทรวงการค้า อุตสาหกรรม และพลังงาน (Ministry of Trade, Industry and Energy) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบด้านเศรษฐกิจของประเทศ ได้เริ่มประกาศนโยบายระดับชาติภายใต้ชื่อ Manufacturing Innovation 3.0 โดยผสมผสานแนวคิดเรื่อง Industry 4.0 ของเยอรมนี เข้ามาเพื่อเติมเต็มนโยบายเรื่องเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และคงความได้เปรียบในการแข่งขันยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4

ไต้หวันกับผลิตภาพ 4.0 (Productivity 4.0) ความฝันใหญ่บนเกาะเล็ก

ไต้หวันได้ให้มุมมองการพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 ว่าจะเป็นกลยุทธ์สำคัญในการยกระดับผลิตภาพในบริบทใหม่ เนื่องจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม 4.0 จะมีความชาญฉลาดและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอย่างมาก ซึ่งช่วยให้สามารถผลิตสินค้าและบริการที่มีความหลากหลายแตกต่างตามความต้องการของลูกค้าเฉพาะรายโดยใช้แรงงานคนน้อยลง สอดคล้องกับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศ ดังนั้น อุตสาหกรรม 4.0 ในไต้หวันจึงใช้ชื่อเรียกว่าผลิตภาพ 4.0 (Productivity 4.0)

1 2 3 4 5 6